Facebook
Twitter
Print
Email
COVID disrupts contraception services, leads to 1.4 million unintended pregnancies, says UNFPA
11 March 2021
Women
One year since COVID-19 was officially declared a pandemic , the UN’s reproductive health agency said on Thursday that an estimated 12 million women have experienced disruptions to their family planning services.
(...) UNFPA’s projections showed that family planning services were largely disrupted in April and May of last year for an average of 3.6 months.
Earlier estimates , produced in April 2020, illustrated that serious family planning disruptions lasting six months could affect 47 million women in low and middle income countries, and result in seven million unintended pregnancies.
Language:English
Score: 738288.43
-
https://news.un.org/story/2021/03/1087082
Data Source: un
Some companies launched permission-based business models to use personal data, a more sustainable strategy to put consumers in control of their personal data. It is a kind of disruptive innovation in the new market. Human/service-related trust is beliefs that the other party has suitable attributes for performing as expected in a specific situation irrespective of the ability to monitor or control that other party [b-Mayer]. (...) There are three innovation models to creating new-growth businesses: 1) sustaining innovation, 2) low-end disruption, and 3) new market disruption: [b-Christensen] 1) Sustaining innovation model: A sustaining innovation does not create new markets or value networks but rather only evolves existing ones with better value, allowing the firms within to compete against each other's sustaining improvements. – Disruptive innovation model: An innovation that creates a new market by applying a different set of values, which ultimately (and unexpectedly) overtakes an existing market. 2) Low-end disruption: targets customers who do not need the full performance valued by customers at the high end of the market. 3) New market disruption: targets customers who have needs that were previously unserved by existing incumbents. 198
201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211
Language:English
Score: 738104.15
-
https://www.itu.int/en/publica.../files/basic-html/page206.html
Data Source: un
ค้นหา ปิด
ค้นหาภายในยูนิเซฟ
Fulltext search
Max
ข่าวประชาสัมพันธ์
รายงานหยุดยั้งอันตรายในประเทศไทย
21 กุมภาพันธ์ 2022
UNICEF/Ricardo Makyn
พร้อมใช้งานใน:
English
ไทย
ประเด็นสำคัญ – ขาดการรายงานเหตุการณ์ล่วงละเมิดทางเพศและแสวงหาประโยชน์ทางเพศต่อเด็กทางออนไลน์ในประเทศ ไทย มีเด็กเพียง 1-3% ที่รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตำรวจ
“การถามปากคำเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ฉันถูกล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์ เกิดขึ้นตรงโต๊ะรับแจ้งความในสถานีตำรวจ มีคนอยู่บริเวณนั้นประมาณ 10 คน รวมทั้งตำรวจชาย 2 นายและเพื่อนของฉัน 5 คน” – เด็กผู้เสียหายจากการถูกแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์
นวัตกรรมงานวิจัยนำเสนอโดย องค์การเอ็คแพท
องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (หรืออินเตอร์โพล) และ ศูนย์วิจัยอินโนเซนติขององค์การยูนิเซฟ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก โครงการความปลอดภัยทางออนไลน์ของพันธมิตรระดับโลกเพื่อยุติความรุนแรงต่อเด็ก
Disrupting Harm ในประเทศไทย เป็นรายงานอิงหลักฐานซึ่งนำเสนอเค้าโครงของความจริงที่เจ็บปวดของการแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางออนไลน์ในประเทศไทย
ข้อค้นพบที่สำคัญในรายงาน Disrupting Harm ในประเทศไทย รวมถึงประเด็นต่อไปนี้:
เด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กไม่แจ้งเหตุการล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์
ในปีที่ผ่านมา
10-31% ของเด็ก (อายุ 12 - 17 ปี) ซึ่งถูกแสวงประโยชน์และล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์ มิได้เปิดเผย ประสบการณ์ลักษณะดังกล่าวของตน ต่อผู้ใด
มี ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กที่เข้าร่วมการสำรวจ เพียง 17% ที่กล่าวว่าพวกเขาจะแจ้ง ตำรวจหากลูกของตนประสบกับการลวนลามทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศ หรือการแสวงหาประโยชน์ทางเพศทางออนไลน์
การล่วงละเมิดและแสวงหาประโยชน์ทางเพศทำให้เด็กตกอยู่ในประสบการณ์ที่น่ากลัว แต่ทำไมพวกเขาจึงไม่รายงานเหตุการณ์ดังกล่าว ?
(...) ประสบการณ์ที่เด็กบางคนได้รับคือความรู้สึกอับอาย ถูกตำหนิ และความรู้สึกที่ทำให้พวกเขาไม่ต้องการพูดหรือเปิดเผยเรื่องราว
จากการสัมภาษณ์เด็กผู้เสียหาย เด็กบางคนรู้สึกว่าพวกเขา ไม่ได้ถูกมองว่าเป็นผู้เสียหาย แต่เป็นผู้รับผิดชอบต่อการล่วงละเมิดทางเพศและการแสวงหาประโยชน์ทางเพศทางออนไลน์ซึ่งพวกเขาต้องกล้ำกลืนฝืนทน และเด็กๆ ได้กล่าวเพิ่มเติมว่าพวกเขาเชื่อว่าเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายและสาธารณชนมีมุมมองเช่นนั้นต่อพวกเขา
ผู้เสียหายยังคงต้องเผชิญหน้ากับผู้กระทำความผิดในศาล เด็กๆ ที่เข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดีเล่าถึงความทุกข์ทรมานใจ ที่ต้องนั่งอยู่ในห้องพิจารณาคดีและเผชิญหน้ากับผู้กระทำความผิด
แม้ว่ากระบวนการที่เป็นมิตรกับเด็ก เทคนิคการสืบสวนสอบสวนที่มีผู้เสียหายเป็นศูนย์กลาง และการระบุตัวผู้เสียหายได้ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานแนวปฏิบัติในประเทศไทยแล้ว แต่เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ได้ใช้แนวปฏิบัติดังกล่าวเสมอไป
ในปีที่ผ่านมาเพียงปีเดียว พบว่า 9 % ของเด็กที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย อายุ 12-17 ปี (เด็กประมาณ 400,000 คน ) ตกเป็นผู้เสียหายจากการถูก แสวงประโยชน์และละเมิดทางเพศทางออนไลน์
ซึ่งรวมถึงการแบล็คเมลเด็กให้เข้าร่วมกิจกรรมทางเพศ การส่งต่อภาพทางเพศของพวกเขาโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือการข่มขู่เด็กให้เข้าร่วมกิจกรรมทางเพศโดยสัญญาว่าจะได้รับเงินหรือสิ่งของเป็นการตอบแทน เมื่อขยายสถิติดังกล่าวไปสู่ประชากรของประเทศ พบว่าเด็ก ตกอยู่ในอันตรายเหล่านี้ในช่วงระยะเวลาเพียง 1 ปี
7% ของเด็กอายุ 12 - 17 ปี ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ระบุว่าในปีที่ผ่านมาพวกเขาได้รับข้อเสนอเป็นเงินหรือสิ่งของเพื่อแลกเปลี่ยนกับการพบกับบุคคลและร่วมกิจกรรมทางเพศ ในจำนวนเด็กที่ได้รับข้อเสนอดังกล่าว 76% กล่าวว่าพวกเขาได้รับการติดต่อผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งส่วนใหญ่จากทวิตเตอร์ ตามด้วยเฟซบุ๊ก และติ๊กต๊อก
ในปีที่ผ่านมา 7% เคยได้รับข้อเสนอเป็นเงินหรือสิ่งของเพื่อแลกเปลี่ยนกับภาพทางเพศ โดย 84% ของข้อเสนอดังกล่าวได้รับผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ -- เฟซบุ๊ก หรือเฟซบุ๊ก เมสเซนเจอร์
ในปีที่ผ่านมา 10% ถูกชักชวนให้พูดคุยเกี่ยวกับเพศหรือกิจกรรมทางเพศกับบุคคลที่พวกเขาไม่ต้องการพูดคุยเรื่องดังกล่าวด้วย 70% ของเด็กเหล่านี้กล่าวว่าพวกเขารู้สึกไม่ดีกับประสบการณ์ที่ได้รับดังกล่าว โดยความรู้สึกที่พบเป็นส่วนใหญ่คือ รู้สึกผิด กลัว หงุดหงิด และทุกข์ใจ
โดยส่วนมากแล้วผู้กระทำความผิดเป็นบุคคลที่เด็กรู้จัก ส่วนบุคคลที่เด็กไม่รู้จักมีเพียงประมาณ 1ใน 5 ของกรณีที่เกิดขึ้น
Disrupting Harm
ในประเทศไทย แนะนำให้มีการดำเนินงานอย่างเร่งด่วนในด้านการศึกษา และส่งเสริมให้ดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนี้:
รัฐบาลไทยควรแต่งตั้งหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งของรัฐให้เป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขการแสวงประโยชน์และล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางออนไลน์ โดยการดำเนินงานดังกล่าวรวมถึงการจัดตั้งหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายที่เน้นเฉพาะกรณีการแสวงประโยชน์และล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางออนไลน์ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานดังกล่าวเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการดำเนินงาน พร้อมทั้งจัดให้มีการอบรมด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องแก่พนักงานอัยการ ผู้พิพากษา/เจ้าพนักงานตุลาการศาล ทนายความ เจ้าหน้าที่ศาล เจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็ก บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ส่วนหน้าที่ให้ความช่วยเหลือทางสังคม และครู เพื่อช่วยส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของแต่ละหน่วยงานในกรณีของการแสวงประโยชน์และล่วงละเมิดทางเพศเด็กทางออนไลน์
ดำเนินการมิให้การพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องเพศเป็นสิ่งที่ควรประณาม และดำเนินงานปรับโครงการด้านการศึกษาและการสร้างความตระหนักรู้ที่มีอยู่เกี่ยวกับการแสวงประโยชน์และล่วงละเมิดทางเพศจากเด็ก เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนทั่วไป รวมถึงบทบาทของเทคโนโลยีที่อาจเอื้ออำนวยให้เกิดการแสวงประโยชน์และการล่วงละเมิดดังกล่าว
เกี่ยวกับ Disrupting Harm
ในต้นปี พ.ศ. 2562 พันธมิตรระดับโลกเพื่อยุติความรุนแรงต่อเด็ก สนับสนุนเงินทุนจำนวน 7 ล้านดอลล่าร์สหรัฐผ่านทางโครงการความปลอดภัยออนไลน์ เพื่อดำเนินงาน Disrupting Harm ซึ่งเป็นโครงการวิจัยแบบองค์รวมและเป็นนวัตกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจว่าเทคโนโลยีดิจิทัลเอื้ออำนวยต่อการแสวงประโยชน์และการล่วงละเมิดเพศต่อเด็กอย่างไร
โครงการความปลอดภัยออนไลน์สนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานร่วมกันของหน่วยงานสามองค์กร - องค์การเอ็คแพท
องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (หรืออินเตอร์โพล) และ ศูนย์วิจัยอินโนเซนติขององค์การยูนิเซฟ ผ่านความร่วมมือ จัดทำวิจัยใน 13 ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ งานวิจัยในลักษณะองค์รวมนี้นับเป็นสิ่งใหม่และมีเอกลักษณ์ในการดำเนินงาน โดยมีการพัฒนาระเบียบวิธีวิจัยขึ้นสำหรับการจัดทำวิจัยในทั้ง 13 ประเทศ และสามารถนำไปใช้ในประเทศอื่นๆ ในอนาคตด้วย
ท่านสามารถอ่านรายงานฉบับสมบรูณ์ได้ที่นี่: https://www.end-violence.org/disrupting-harm#country-reports
( * ) คำนิยามของ การแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์ (OCSEA):
การแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์ (OCSEA) หมายถึงสถานการณ์ที่ ดิจิทัล อินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาเกี่ยวข้องในช่วงหนึ่งของการล่วงละเมิดและแสวงหาประโยชน์ ซึ่งการแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการล่วงละเมิดทางเพศทางออนไลน์สามารถเกิดขึ้นทางออนไลน์เพียงอย่างเดียวตั้งแต่ต้นจนจบ หรือเกิดร่วมกันทั้งทางออนไลน์และทางการปฎิสัมพันธ์ทางกายภาพระหว่างผู้ละเมิดและเด็ก
ที่อยู่ติดต่อสื่อ
รังสิมา ดีสวัสดิ์
องค์การเอ็คแพท
โทร: 02 215 3388
อีเมล: Rangsimad@ecpat.org
สิรินยา วัฒนสุขชัย
องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย
อีเมล: swattanasukchai@unicef.org
เกี่ยวกับยูนิเซฟ
ยูนิเซฟส่งเสริมสิทธิและความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กทุกคน ในทุกๆ งานที่เราทำ ยูนิเซฟทำงานใน 190 ประเทศและดินแดน ร่วมกับพันธมิตรของเรา เพื่อแปรเปลี่ยนความมุ่งมั่นให้กลายเป็นการลงมือทำที่เป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นไปที่การเข้าถึงพวกเด็กๆ ในกลุ่มที่เปราะบางและถูกมองข้าม ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของเด็กทุกคน ในทุกๆ ที่
เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับยูนิเซฟ และงานเพื่อเด็กของยูนิเซฟ ได้ที่เว็บไซต์ www.unicef.org/thailand/
ข้อมูลทั่วไปกรุณาติดต่อ thailandao@unicef.org
ติดตามเรื่องราวล่าสุดจากยูนิเซฟได้ที่ ทวิตเตอร์ และ เฟซบุ๊ก ของยูนิเซฟ
หัวข้อเรื่องที่เกี่ยวข้อง
ความรุนแรงต่อเด็ก
#ENDviolence
ข้อมูลและรายงาน
ไทย
บทความอื่น ๆ ที่คุณอาจสนใจ
ข่าวประชาสัมพันธ์
06 ตุลาคม 2022
ยูนิเซฟร่วมไว้อาลัยกับการสูญเสียครั้งใหญ่จากเหตุกราดยิงที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เยี่ยมชมหน้าเว็บ
บทความบล็อก
เรียนรู้เรื่องการสร้างวินัยเชิงบวกด้วยหนังสือนิทานและรอยยิ้ม
ผู้เชี่ยวชาญร่วมกับครูทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยให้เด็กได้เรียนรู้
อ่านเรื่องราว
ข่าวประชาสัมพันธ์
31 มีนาคม 2021
ผลสำรวจชี้เด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้เผชิญปัญหาโภชนาการ ขาดภูมิคุ้มกันโรค และขาดทักษะเรียนรู้
เยี่ยมชมหน้าเว็บ
บทความบล็อก
ยุติการกลั่นแกล้งรังแกในโรงเรียนด้วยน้ำใจและความเข้าใจต่อกัน
เยาวชนร่วมสร้างหัวใจที่เข้าใจผู้อื่นในงาน Kindness Leaders Conference
อ่านเรื่องราว
Footer
หน้าแรก
ภารกิจของยูนิเซฟ
เอกสารเผยแพร่
เรื่องราว
ร่วมกับยูนิเซฟ
ข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับยูนิเซฟ
เป้าหมาย พ.ศ. 2564
ผู้แทนองค์การยูนิเซฟ
ทูตสันถวไมตรี และ เฟรนด์ออฟยูนิเซฟ
พันธมิตรของยูนิเซฟ
การสนับสนุนงานของยูนิเซฟจากภาคธุรกิจ
ร่วมกับยูนิเซฟ
อาสาสมัครกับโครงการฉันคือยูนิเซฟ
ร่วมเป็นผู้บริจาค
ตำแหน่งงานว่าง
คณะกรรมการที่ปรึกษาเยาวชน (YPAB)
UNICEF NextGen
สมัครรับข่าวสาร
บริจาคตอนนี้
Social
Footer Secondary
ติดต่อยูนิเซฟ
นโยบายการใช้งาน
Language:English
Score: 738104.15
-
https://www.unicef.org/thailan...%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
Data Source: un
In contrast, biological hazards cause disruption caused initially by the impact on
labor. (...) Comparison of impacts between supply chain disruptions due to natural and biological hazards.
Disruptions due to natural hazards Disruptions due to biological hazards
Location of Hazards and
direct impacts
Local or regional Widespread and global
Main direct impacts
Primary direct impacts are on physical assets, such as transportation and facilities.
(...) Moritz, B. (2020) Supply chain disruptions and covid-19. Supply Chain Management Review 27.
Language:English
Score: 737724.1
-
https://www.undrr.org/media/80460/download
Data Source: un
Microsoft Word - Anx.11.15th.ed.alltext.en.INPROGRESS.CC.docx
Chapter 2 Annex 11 — Air Traffic Services
/11/18
2.32 Contingency arrangements
Air traffic services authorities shall develop and promulgate contingency plans for implementation in the event of disruption, or potential disruption, of air traffic services and related supporting services in the airspace for which they are responsible for the provision of such services. (...) Responsibility for developing, promulgating and implementing contingency plans
3.1 The State(s) responsible for providing air traffic services and related supporting services in particular portions of airspace is (are) also responsible, in the event of disruption or potential disruption of these services, for instituting measures to ensure the safety of international civil aviation operations and, where possible, for making provisions for alternative facilities and services. (...) In such circumstances, ICAO will work in coordination with States responsible for airspace adjacent to that affected by the disruption and in close consultation with international organizations concerned.
Language:English
Score: 737708.94
-
https://www.icao.int/safety/CA...-and-PANS%29/an11_1_edited.pdf
Data Source: un
Disruptive technologies and their use in disaster risk reduction and management
Committed to connecting the world
Search for:
ITU
General Secretariat
Radiocommunication
Standardization
Development
About ITU-D
Projects
TDAG
WTDC
Study Groups
Regional Presence
Join ITU-D
ITU Telecom
Members' Zone
Join ITU
Disruptive technologies and their use in disaster risk reduction and management
Rollup Image
You are here
ITU > Home > ITU-D > ITU-D Emergency Telecommunications > Disruptive technologies and their use in disaster risk reduction and management
Share
Page Content 10
The Disruptive technologies and their use in disaster risk reduction and management was published to coincide with the third ITU Global Forum on Emergency Telecommunications (GET-19) , which took place from 6 to 8 March 2019, in Balaclava, Mauritius. (...) This document discusses the use and opportunities of ICTs and disruptive technologies for disaster risk reduction and management. (...) Traditional technologies, though not considered disruptive, continue to play a critical role in disaster management, and are also benefitting from digitization.
Language:English
Score: 737685.35
-
https://www.itu.int/en/ITU-D/E...-reduction-and-management.aspx
Data Source: un
Search Close
Search UNICEF
Fulltext search
Max
Statement
Children cannot afford prolonged disruptions to learning
Statement by Patrizia DiGiovanni UNICEF Representative calling for a much-needed consensus to avoid additional prolonged disruptions to children’s learning
13 April 2022
UNICEF/North Macedonia/Georgiev/2020
Available in:
English
Македонски
Shqip
Skopje, 13 April 2022 - “UNICEF is following the current dialogue between the Government and Trade Union for Education, Science and Culture and calls for all parties involved to rapidly come to a mutual solution that is child centred and avoids additional prolonged disruptions to children’s learning.
(...) At the same time, children in North Macedonia cannot afford any additional disruptions to learning. A quick solution that benefits all parties, especially children, must be found.
(...) In addition to the schools being closed for in person learning for 54 weeks due to the pandemic, this year children already missed out on two weeks of schooling with the delayed start of the school year. With these disruptions, the learning crisis has already further escalated.
Language:English
Score: 737269.63
-
https://www.unicef.org/northma...prolonged-disruptions-learning
Data Source: un
Understanding is the first step to recovery
While COVID-19 has caused educational disruptions around the world, the crisis also offers opportunities for change. (...) REDS was created in order to see not only how teaching and learning were affected by the disruptions, but also to further evaluate how countries responded and if these response measures mitigated the COVID-19 impact, both across and within countries.
(...) Renewed importance of wellbeing
An important part of data released today from REDS offers insights from multifaceted perspective into teacher and student well-being during the educational disruption caused by the COVID-19 pandemic.
Fresh findings from REDS show a decline in teacher and student well-being during the educational disruption, with over 50% of students feeling overwhelmed by the COVID-19 pandemic, and teachers experiencing increased workload and changing job requirements.
Language:English
Score: 737192.7
-
https://en.unesco.org/news/new...chers-well-being-inclusive-and
Data Source: un
Since then, however, surveys by UNICEF and WHO reveal that the COVID-19 pandemic has resulted in major disruptions to health services that threaten to undo decades of hard-won progress.
(...) Without urgent investments to re-start disrupted health systems and services, millions of children under five, especially newborns, could die.”
(...) In addition, 63 per cent of countries reported disruptions in antenatal checkups and 59 per cent in post-natal care.
Language:English
Score: 737192.7
-
https://www.unicef.org/eca/pre...ating-preventable-child-deaths
Data Source: un
Education Disrupted, Education Reimagined Part II | Global Education Monitoring Report
Skip to main content
Building peace in the minds of men and women
English Français Español Русский العربية 中文
About us
About
Team
Contact
Advisory Board
Funders
Evaluations
Opportunities
Fellowship
Reports
Publications
Multimedia
Videos
Infographics
Outreach
Campaigns
News alert
Press
Events
SDG 4
Blogs
Search
Search
Education Disrupted, Education Reimagined Part II
BACK TO CALENDAR
Education Disrupted, Education Reimagined Part II
On June 23-25, WISE reconvened for the second part of our Education Disrupted, Education Reimagined series, examining the impact of the COVID-19 pandemic on education systems now and in the future.
Language:English
Score: 736232.3
-
https://en.unesco.org/gem-repo...d-education-reimagined-part-ii
Data Source: un